ไมโครซอฟท์ “รัก” ลินุกซ์

หนึ่งในความร่วมมือที่กำลังจะเปลี่ยนแปลงอนาคตของแพลตฟอร์ม คือ การประกาศอย่างเป็นทางการว่า ไมโครซอฟท์และลินุกซ์นั้นสามารถทำงานข้ามแพลตฟอร์มกันได้ ในแนวคิดที่ว่า “Microsoft ♥ Linux” จากการประชุมใหญ่ของไมโครซอฟท์ที่ผ่านมาโดย สัตยา นาเดลล่า ซีอีโอคนปัจจุบันของไมโครซอฟท์ สื่อหลายสำนักได้ให้ความเห็นว่า “ไมโครซอฟท์มาถูกทางแล้ว!”  แนวคิดของ “Microsoft ♥ Linux” นั้นมาจากเสียงตอบรับจากลูกค้าส่วนใหญ่ที่เวลาทำงานต้องใช้งานทั้ง Windows และ Linux กับศูนย์ข้อมูล กับผู้ให้บริการภายนอก และกับระบบคลาวด์สาธารณะ เดียวกัน ลูกค้าส่วนใหญ่ต้องการให้สามารถทำงานร่วมกันได้โดยไม่ต้องอิงกับระบบปฏิบัติการใดระบบปฏิบัติการหนึ่ง ต่อไปนี้คือสิ่งที่ไมโครซอฟท์ได้ให้สัญญาไว้เกี่ยวกับลินุกซ์

  1. Linux is your data center – ไมโครซอฟท์ได้ลงทุนมหาศาลกับเทคโนโลยีคลาวด์ ในทุกๆ มุมคือทั้งด้านประมวลผล (Compute), การทำเครือข่าย (Networking) และพื้นที่เก็บข้อมูล (Storage) ซึ่งการลงทุนครั้งนี้เป็นการลงทุนแบบ Hyper-Scale บน Azure Public Cloud และระบบปฏิบัติการที่เป็นเกสต์ ทำงานเป็นอิสระต่อกันทั้ง Windows และลินุกซ์ แต่ก็มีอยู่หลายครั้งที่ทีมพัฒนาผลิตภัณฑ์มักมีคำถามว่า “มันสามารถทำงานบน Windows ได้จริงหรือไม่” กับ “มันสามารถทำงานบนลินุกซ์ได้จริงหรือเปล่า” และคำตอบคือ ไมโครซอฟท์เองก็ได้ลงทุนกับศูนย์ข้อมูลเช่นเดียวกัน เพื่อให้เป็นพื้นฐานบนความแตกต่างที่สามารถทำงานได้ดีทั้งกับทั้งสองระบบ

นอกจากนี้ ไมโครซอฟท์ยังได้ลงทุนในระดับ Management Layer เพื่อเปิดตัวเวอร์ชันแรกของ PowerShell Desired State Configuration (DSC) สำหรับลินุกซ์ด้วย โดยบน DSC บนลินุกซ์ จะสามารถทำงานร่วมกันได้ทั้งบน Windows และลินุกซ์ ไม่ว่าจะเป็นการติดตั้งแพคเกจ การกำหนดค่า การสร้างและจัดการผู้ใช้งาน รวมถึงการติดตั้งบริการต่างๆ และขณะนี้โครงการ DSC for Linux นั้นเป็นโครงการ Open Source ที่พร้อมให้ใช้งานบน GitHub แล้ว

  1. Linux is Microsoft Azure – เป้าหมายคือให้ Linux VM สามารถทำงานได้สมบูรณ์บน Azure ให้เหมือนกับ Windows VM โดยในแพคเกจ “G” ที่มีทั้งขนาดของ VM, Premium Storage และ Azure Backup นั้นพร้อมให้บริการทั้ง Windows และลินุกซ์แล้ว และสามารถทำงานร่วมกับ Docker, Chef และ Open Source อื่นๆ ได้ด้วย โดยจะพร้อมให้บริการบนลินุกซ์ก่อน แล้วจึงจะเป็น Windows

ระบบปฏิบัติการลินุกซ์หลากหลายแบบที่ให้บริการบน Azure เช่น SUSE Linux Enterprise Server, openSUSE, Ubuntu Linux, Oracle Linux, CoreOS และ CentOS ซึ่งคุณสามารถดาวน์โหลดอิมเมจของลินุกซ์ของตนเองได้ด้วย ส่วนในศูนย์ข้อมูลของ Azure นั้น ไมโครซอฟท์ก็มีบริการ PaaS ที่อยู่บนระบบปฏิบัติการลินุกซ์ด้วย ซึ่งก็คือ HDInsight (Hadoop) ที่ทำงานบนลินุกซ์เวอร์ชันแรกนั่นเอง เรียกได้ว่าเป็นสัญญาณที่ดีทางธุรกิจว่าไมโครซอฟท์กำลังเข้ามาสู่ตลาดลินุกซ์มากขึ้นแล้ว ช่วยให้ผู้ใช้งานมีทางเลือกในการดำเนินงานมากขึ้น

หากผู้ใดสนใจ สามารถศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ www.microsoft.com/open

Latest

ใช้ Synology NAS เป็น uptime monitoring ด้วยแอพ uptime-kuma สั่ง alert ผ่าน Line ได้ด้วย

สำหรับแอดมินที่ต้องดูแลหลายๆ เว็บไซต์ สิ่งที่จำเป็นก็คือเครื่องมือที่เรียกว่า uptime monitoring ที่คอยเตือนเมื่อเกิดเหตุการณ์เว็บล่ม เพราะบางครั้งแค่เว็บล่มเพียงไม่กี่นาที ก็ทำให้เกิดความเสียหายหลายแสนทีเดียว บริการ uptime...

เตือนภัยถึงแอดมิน ระวังเฟซบุ๊กถูกแฮกไม่รู้ตัว

ช่วงนี้มิจฉาชีพระบาดหนัก ล่าสุดผมเองก็โดนกับตัวผ่านทาง facebook เลยอยากจะมาเตือนเพื่อนๆ ทุกคน โดยบล็อกนี้ผมจะแฉวิธีการและวิธีสังเกตการหลอกเอาข้อมูลของเรา รู้ไว้จะได้รู้เท่าทันพวกมิจฉาชีพเหล่านี้ครับ 2 ขั้นตอนหลัก ที่มิจฯ...

หยอดปุกรอ!! 4 รถแบรนด์ดัง พลังงานไฮโดรเจน น่าจับตาปี 2023

สำหรับปี 2023 เป็นต้นไปนี้ เราจะเห็นรถพลังงานไฮโดรเจนเปิดตัวมากขึ้น ดูเหมือนทุกค่ายจะซุ่มทำรถไฮโดรเจนของตัวเอง แล้วเหมือนจะนัดกันเปิดตัวในปีนี้พร้อมๆ กัน

Windows Search ห่วย ใช้ Listary ช่วยคุณได้

คิดว่าหลายคนที่ใช้วินโดวส์เป็นหลัก น่าจะรู้สึกเหมือนผม คือรำคาญระบบค้นหา หรือช่อง search ของวินโดวส์ เพราะช้า แถมหาอะไรก็ไม่ค่อยเจอ ...

Newsletter

Don't miss

ใช้ Synology NAS เป็น uptime monitoring ด้วยแอพ uptime-kuma สั่ง alert ผ่าน Line ได้ด้วย

สำหรับแอดมินที่ต้องดูแลหลายๆ เว็บไซต์ สิ่งที่จำเป็นก็คือเครื่องมือที่เรียกว่า uptime monitoring ที่คอยเตือนเมื่อเกิดเหตุการณ์เว็บล่ม เพราะบางครั้งแค่เว็บล่มเพียงไม่กี่นาที ก็ทำให้เกิดความเสียหายหลายแสนทีเดียว บริการ uptime...

เตือนภัยถึงแอดมิน ระวังเฟซบุ๊กถูกแฮกไม่รู้ตัว

ช่วงนี้มิจฉาชีพระบาดหนัก ล่าสุดผมเองก็โดนกับตัวผ่านทาง facebook เลยอยากจะมาเตือนเพื่อนๆ ทุกคน โดยบล็อกนี้ผมจะแฉวิธีการและวิธีสังเกตการหลอกเอาข้อมูลของเรา รู้ไว้จะได้รู้เท่าทันพวกมิจฉาชีพเหล่านี้ครับ 2 ขั้นตอนหลัก ที่มิจฯ...

หยอดปุกรอ!! 4 รถแบรนด์ดัง พลังงานไฮโดรเจน น่าจับตาปี 2023

สำหรับปี 2023 เป็นต้นไปนี้ เราจะเห็นรถพลังงานไฮโดรเจนเปิดตัวมากขึ้น ดูเหมือนทุกค่ายจะซุ่มทำรถไฮโดรเจนของตัวเอง แล้วเหมือนจะนัดกันเปิดตัวในปีนี้พร้อมๆ กัน

Windows Search ห่วย ใช้ Listary ช่วยคุณได้

คิดว่าหลายคนที่ใช้วินโดวส์เป็นหลัก น่าจะรู้สึกเหมือนผม คือรำคาญระบบค้นหา หรือช่อง search ของวินโดวส์ เพราะช้า แถมหาอะไรก็ไม่ค่อยเจอ ...

รวม 22 คีย์ลัด Windows Key ที่ทำให้ชีวิตง่ายขึ้นพันเปอร์เซ็นต์

ปุ่ม Windows Key หน้าตาแบบนี้ ไม่ได้มีไว้ใช้แค่เรียกเมนู Start ขึ้นมาเท่านั้นนะครับ แต่ตัวมันใช้เป็นคีย์ลัดสำหรับการการทำงานบนวินโดวส์ได้หลายอย่างมาก วันนี้ผมขอรวบรวมคีย์ลัดของปุ่มนี้...

ใช้ Synology NAS เป็น uptime monitoring ด้วยแอพ uptime-kuma สั่ง alert ผ่าน Line ได้ด้วย

สำหรับแอดมินที่ต้องดูแลหลายๆ เว็บไซต์ สิ่งที่จำเป็นก็คือเครื่องมือที่เรียกว่า uptime monitoring ที่คอยเตือนเมื่อเกิดเหตุการณ์เว็บล่ม เพราะบางครั้งแค่เว็บล่มเพียงไม่กี่นาที ก็ทำให้เกิดความเสียหายหลายแสนทีเดียว บริการ uptime monitoring สมัยนี้มีหลากหลายเจ้า ปกติจะเก็บค่าบริการกันแบบ subscription รายเดือน แต่ถ้าใครไม่อยากจ่ายตังค์ วันนี้ผมมีโซลูชั่น สำหรับใครที่มีการใช้งาน NAS อยู่แล้ว เราจะเอา NAS มาทำเป็น uptime monitoring...

เตือนภัยถึงแอดมิน ระวังเฟซบุ๊กถูกแฮกไม่รู้ตัว

ช่วงนี้มิจฉาชีพระบาดหนัก ล่าสุดผมเองก็โดนกับตัวผ่านทาง facebook เลยอยากจะมาเตือนเพื่อนๆ ทุกคน โดยบล็อกนี้ผมจะแฉวิธีการและวิธีสังเกตการหลอกเอาข้อมูลของเรา รู้ไว้จะได้รู้เท่าทันพวกมิจฉาชีพเหล่านี้ครับ 2 ขั้นตอนหลัก ที่มิจฯ ใช้มาหลอกเรา ส่งข้อความมาทาง inbox แจ้งว่าเพจทำผิดกฎ หรือ ละเมิดกฎเฟซบุ๊ก ให้กดลิงค์ เพื่อยืนยันตัวตน ไม่งั้นจะบล็อกเพจถาวร พอเรากดลิงค์เข้าไป จะเจอกับหน้าเพจ (คล้าย) เฟซบุ๊ก ซึ่งมีฟอร์มให้เราใส่ข้อมูลต่างๆ รวมถึง ชื่อเพจ อีเมล...

หยอดปุกรอ!! 4 รถแบรนด์ดัง พลังงานไฮโดรเจน น่าจับตาปี 2023

สำหรับปี 2023 เป็นต้นไปนี้ เราจะเห็นรถพลังงานไฮโดรเจนเปิดตัวมากขึ้น ดูเหมือนทุกค่ายจะซุ่มทำรถไฮโดรเจนของตัวเอง แล้วเหมือนจะนัดกันเปิดตัวในปีนี้พร้อมๆ กัน

LEAVE A REPLY

Please enter your comment!
Please enter your name here