แคสเปอร์สกี้ แลป เตือนองค์กรการศึกษาระวังภัยฟิชชิ่งออนไลน์ล่าสุด ลวงข้อมูลส่วนบุคคลจากเครือข่ายมหาวิทยาลัย

นักวิจัยของแคสเปอร์สกี้ แลป ตรวจพบภัยคุกคามไซเบอร์ประเภทการโจมตีแบบฟิชชิ่ง 961 ครั้งที่โจมตีมหาวิทยาลัยมากถึง 131 แห่งใน 16 ประเทศทั่วโลก ในช่วง 12 เดือนที่ผ่านมา (ตั้งแต่เดือนกันยายน 2017) เพื่อขโมยข้อมูลสำคัญของมหาวิทยาลัย นั่นคือ ข้อมูลตัวบุคคลของบุคลากรและนักศึกษา ข้อมูลไอพีแอดเดรส และโลเคชั่น โดยส่วนมาก ผู้ร้ายไซเบอร์จะสร้างเว็บเพจสำหรับใส่ล็อกอินและพาสเวิร์ดเข้าระบบดิจิทัลของมหาวิทยาลัยโดยออกแบบให้มีหน้าตาเหมือนกับเว็บจริง

จะเห็นได้ชัดว่าข้อมูลตัวบุคคลของพนักงานธนาคารและพาสเวิร์ดของลูกจ้างองค์กรอุตสาหกรรมนั้นมีความสำคัญมาก แต่ข้อมูลของนักศึกษาและพนักงานมหาวิทยาลัยนั้น ดูแล้วไม่น่าเป็นเป้าหมายของอาชญากรไซเบอร์ได้เลย แต่จริงๆ แล้ว การโจมตีสเปียร์ฟิชชิ่งอาจทำให้ผู้ร้ายเข้าถึงแหล่งข้อมูลที่มีค่า อย่างรายงานการวิจัยที่มีหัวข้อหลากหลายตั้งแต่เรื่องเศรษศาสตร์ไปจนถึงฟิสิกส์นิวเคลียร์ได้เลย นอกจากนี้ มหาวิทยาลัยมักจะร่วมมือกับองค์กรเอกชนชั้นนำ ทำให้ผู้ร้ายอาจเข้าถึงข้อมูลขององค์กรนั้นได้อีกด้วย

181024 phishing for knowledge 1

นักวิจัยของแคสเปอร์สกี้ แลป พบการโจมตีมหาวิทยาลัยมากถึง 131 แห่ง ส่วนมากจะเน้นที่มหาวิทยาลัยที่ใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสาร โดยมหาวิทยาลัยจำนวน 83 แห่งตั้งอยู่ในสหรัฐอเมริกา จำนวน 21 แห่งตั้งอยู่ในสหราชอาณาจักร และพบว่าผู้ร้ายไซเบอร์พุ่งเป้าโจมตีมหาวิทยาลัยวอชิงตันเป็นหลัก คือ โจมตีมากถึง 111 ครั้งเลยทีเดียว นอกจากนี้ องค์กรด้านการศึกษาในทวีปเอเชีย ยุโรป และแอฟริกา ก็โดนโจมตีเช่นเดียวกัน

 

นางสาวนาเดซด้า เดมิโดวา นักวิจัยด้านความปลอดภัย แคสเปอร์สกี้ แลป กล่าวว่า “จำนวนองค์กรที่โดนโจมตีนั้นเป็นตัวเลขที่น่ากังวลมาก อาชญากรไซเบอร์กำลังสนใจด้านการศึกษาอย่างมาก ผู้บริหารมหาวิทยาลัยจำเป็นต้องพิจารณาว่าพนักงานและนักศึกษาอาจเป็นจุดอ่อนและช่องโหว่ให้ผู้ร้ายไซเบอร์เข้าถึงระบบดิจิทัลได้ จึงควรเร่งหามาตรการเพื่อความปลอดภัยไซเบอร์”

Countries

แคสเปอร์สกี้ แลป ขอแนะนำมาตรการความปลอดภัยเพื่อป้องกันตัวเองจากการตกเป็นเหยื่อฟิชชิ่งดังนี้

  • หมั่นตรวจสอบลิ้งก์และอีเมลของผู้ส่งเสมอๆ ก่อนคลิกดำเนินการใดๆ ทางที่ดี ไม่ควรคลิกลิ้งก์ แต่ควรใช้วิธีพิมพ์แอดเดรสแทน ในกรณีที่ไม่มั่นใจว่าเว็บไซต์นั้นหรือผู้ส่งนั้นเป็นตัวจริงหรือปลอดภัยหรือไม่ ห้ามกรอกข้อมูลส่วนบุคคลเด็ดขาด หากคิดว่าได้กรอกข้อมูลลงเว็บปลอมไปแล้ว ให้รีบเปลี่ยนพาสเวิร์ดทันที
  • อย่าใช้พาสเวิร์ดเดียวกันเพื่อใช้งานเว็บไซต์หรือเซอร์วิสต่างๆ เพราะถ้าหากพาสเวิร์ดถูกขโมยไปหนึ่งอัน แอคเค้าท์อื่นๆ ก็เสี่ยงเช่นเดียวกัน ควรใช้พาสเวิร์ดที่มีความแข็งแกร่ง แฮ็กยาก และหากไม่ต้องการจดจำพาสเวิร์ดที่ยากเกินไป แนะนำให้ใช้โปรแกรมจัดการพาสเวิร์ด เช่น Kaspersky Password Manager
  • เพื่อป้องกันการรุกล้ำการเชื่อมต่อเน็ตเวิร์กและพาไปยังเว็บไซต์ปลอม หรือเข้าขัดขวางเว็บทราฟฟิกให้สะดุด ขอแนะนำให้ใช้การเชื่อมต่อที่ปลอดภัย มีพาสเวิร์ดป้องกัน และมีการเอ็นคริปต์ชั่นเท่านั้น โดย Kaspersky Secure Connectionจะเปิดการเอ็นคริปต์ชั่นให้อัตโนมัติเมื่อพบการเชื่อมต่อที่ไม่ปลอดภัยเพียงพอ
  • ควรใช้งานโซลูชั่นเพื่อความปลอดภัยไซเบอร์เสมอเมื่อใช้งานโมบายดีไวซ์ในการท่องเว็บ ซึ่งจะช่วยแจ้งเตือนหากจะหลงเข้าใช้งานเว็บฟิชชิ่ง
  • องค์กรควรให้ความรู้แก่พนักงานว่า ไม่ควรให้ข้อมูลสำคัญแก่บุคคลอื่น เช่น ล็อกอิน พาสเวิร์ด และไม่ควรคลิกลิ้งก์จากผู้ส่งที่ไม่รู้จักคุ้นเคย หรือลิ้งก์ในอีเมลน่าสงสัย
  • องค์กรควรติดตั้งโซลูชั่นด้านความปลอดภัยสำหรับเอ็นพอยต์ที่มีเทคโนโลยีป้องกันการฟิชชิ่ง เช่น Kaspersky Endpoint Security for Businessซึ่งจะตรวจจับและบล็อกสแปมและฟิชชิ่งได้

 

รายงานการค้นพบเพิ่มเติมhttps://securelist.com/phishing-for-knowledge/88268/

 

Latest

ใช้ Synology NAS เป็น uptime monitoring ด้วยแอพ uptime-kuma สั่ง alert ผ่าน Line ได้ด้วย

สำหรับแอดมินที่ต้องดูแลหลายๆ เว็บไซต์ สิ่งที่จำเป็นก็คือเครื่องมือที่เรียกว่า uptime monitoring ที่คอยเตือนเมื่อเกิดเหตุการณ์เว็บล่ม เพราะบางครั้งแค่เว็บล่มเพียงไม่กี่นาที ก็ทำให้เกิดความเสียหายหลายแสนทีเดียว บริการ uptime...

เตือนภัยถึงแอดมิน ระวังเฟซบุ๊กถูกแฮกไม่รู้ตัว

ช่วงนี้มิจฉาชีพระบาดหนัก ล่าสุดผมเองก็โดนกับตัวผ่านทาง facebook เลยอยากจะมาเตือนเพื่อนๆ ทุกคน โดยบล็อกนี้ผมจะแฉวิธีการและวิธีสังเกตการหลอกเอาข้อมูลของเรา รู้ไว้จะได้รู้เท่าทันพวกมิจฉาชีพเหล่านี้ครับ 2 ขั้นตอนหลัก ที่มิจฯ...

หยอดปุกรอ!! 4 รถแบรนด์ดัง พลังงานไฮโดรเจน น่าจับตาปี 2023

สำหรับปี 2023 เป็นต้นไปนี้ เราจะเห็นรถพลังงานไฮโดรเจนเปิดตัวมากขึ้น ดูเหมือนทุกค่ายจะซุ่มทำรถไฮโดรเจนของตัวเอง แล้วเหมือนจะนัดกันเปิดตัวในปีนี้พร้อมๆ กัน

Windows Search ห่วย ใช้ Listary ช่วยคุณได้

คิดว่าหลายคนที่ใช้วินโดวส์เป็นหลัก น่าจะรู้สึกเหมือนผม คือรำคาญระบบค้นหา หรือช่อง search ของวินโดวส์ เพราะช้า แถมหาอะไรก็ไม่ค่อยเจอ ...

Newsletter

Don't miss

ใช้ Synology NAS เป็น uptime monitoring ด้วยแอพ uptime-kuma สั่ง alert ผ่าน Line ได้ด้วย

สำหรับแอดมินที่ต้องดูแลหลายๆ เว็บไซต์ สิ่งที่จำเป็นก็คือเครื่องมือที่เรียกว่า uptime monitoring ที่คอยเตือนเมื่อเกิดเหตุการณ์เว็บล่ม เพราะบางครั้งแค่เว็บล่มเพียงไม่กี่นาที ก็ทำให้เกิดความเสียหายหลายแสนทีเดียว บริการ uptime...

เตือนภัยถึงแอดมิน ระวังเฟซบุ๊กถูกแฮกไม่รู้ตัว

ช่วงนี้มิจฉาชีพระบาดหนัก ล่าสุดผมเองก็โดนกับตัวผ่านทาง facebook เลยอยากจะมาเตือนเพื่อนๆ ทุกคน โดยบล็อกนี้ผมจะแฉวิธีการและวิธีสังเกตการหลอกเอาข้อมูลของเรา รู้ไว้จะได้รู้เท่าทันพวกมิจฉาชีพเหล่านี้ครับ 2 ขั้นตอนหลัก ที่มิจฯ...

หยอดปุกรอ!! 4 รถแบรนด์ดัง พลังงานไฮโดรเจน น่าจับตาปี 2023

สำหรับปี 2023 เป็นต้นไปนี้ เราจะเห็นรถพลังงานไฮโดรเจนเปิดตัวมากขึ้น ดูเหมือนทุกค่ายจะซุ่มทำรถไฮโดรเจนของตัวเอง แล้วเหมือนจะนัดกันเปิดตัวในปีนี้พร้อมๆ กัน

Windows Search ห่วย ใช้ Listary ช่วยคุณได้

คิดว่าหลายคนที่ใช้วินโดวส์เป็นหลัก น่าจะรู้สึกเหมือนผม คือรำคาญระบบค้นหา หรือช่อง search ของวินโดวส์ เพราะช้า แถมหาอะไรก็ไม่ค่อยเจอ ...

รวม 22 คีย์ลัด Windows Key ที่ทำให้ชีวิตง่ายขึ้นพันเปอร์เซ็นต์

ปุ่ม Windows Key หน้าตาแบบนี้ ไม่ได้มีไว้ใช้แค่เรียกเมนู Start ขึ้นมาเท่านั้นนะครับ แต่ตัวมันใช้เป็นคีย์ลัดสำหรับการการทำงานบนวินโดวส์ได้หลายอย่างมาก วันนี้ผมขอรวบรวมคีย์ลัดของปุ่มนี้...

ใช้ Synology NAS เป็น uptime monitoring ด้วยแอพ uptime-kuma สั่ง alert ผ่าน Line ได้ด้วย

สำหรับแอดมินที่ต้องดูแลหลายๆ เว็บไซต์ สิ่งที่จำเป็นก็คือเครื่องมือที่เรียกว่า uptime monitoring ที่คอยเตือนเมื่อเกิดเหตุการณ์เว็บล่ม เพราะบางครั้งแค่เว็บล่มเพียงไม่กี่นาที ก็ทำให้เกิดความเสียหายหลายแสนทีเดียว บริการ uptime monitoring สมัยนี้มีหลากหลายเจ้า ปกติจะเก็บค่าบริการกันแบบ subscription รายเดือน แต่ถ้าใครไม่อยากจ่ายตังค์ วันนี้ผมมีโซลูชั่น สำหรับใครที่มีการใช้งาน NAS อยู่แล้ว เราจะเอา NAS มาทำเป็น uptime monitoring...

เตือนภัยถึงแอดมิน ระวังเฟซบุ๊กถูกแฮกไม่รู้ตัว

ช่วงนี้มิจฉาชีพระบาดหนัก ล่าสุดผมเองก็โดนกับตัวผ่านทาง facebook เลยอยากจะมาเตือนเพื่อนๆ ทุกคน โดยบล็อกนี้ผมจะแฉวิธีการและวิธีสังเกตการหลอกเอาข้อมูลของเรา รู้ไว้จะได้รู้เท่าทันพวกมิจฉาชีพเหล่านี้ครับ 2 ขั้นตอนหลัก ที่มิจฯ ใช้มาหลอกเรา ส่งข้อความมาทาง inbox แจ้งว่าเพจทำผิดกฎ หรือ ละเมิดกฎเฟซบุ๊ก ให้กดลิงค์ เพื่อยืนยันตัวตน ไม่งั้นจะบล็อกเพจถาวร พอเรากดลิงค์เข้าไป จะเจอกับหน้าเพจ (คล้าย) เฟซบุ๊ก ซึ่งมีฟอร์มให้เราใส่ข้อมูลต่างๆ รวมถึง ชื่อเพจ อีเมล...

หยอดปุกรอ!! 4 รถแบรนด์ดัง พลังงานไฮโดรเจน น่าจับตาปี 2023

สำหรับปี 2023 เป็นต้นไปนี้ เราจะเห็นรถพลังงานไฮโดรเจนเปิดตัวมากขึ้น ดูเหมือนทุกค่ายจะซุ่มทำรถไฮโดรเจนของตัวเอง แล้วเหมือนจะนัดกันเปิดตัวในปีนี้พร้อมๆ กัน

LEAVE A REPLY

Please enter your comment!
Please enter your name here