บทบาทของ IoT (Internet of things) ปัจจุบันสู่อนาคต

 

กระแส Internet of Things และเรื่องของบิ๊กดาต้า (Big Data) นับเป็นประเด็นยอดฮิตติดลมบนในโลกเทคโนโลยีที่หลายคนพูดถึงกันมากเป็นพิเศษในระยะหลังมานี้ อันเนื่องมาจากการผสมผสานของเทคโนโลยีดังกล่าวทำให้เกิดประโยชน์ทางธุรกิจมากมาย อาทิ โอกาสทางธุรกิจที่จะมีอย่างต่อเนื่องจากการพัฒนาแอพพลิเคชั่นใหม่เพื่อการใช้งานใหม่ๆ  ดังนั้นการจัดการข้อมูลให้เกิดประสิทธิภาพคือหัวใจสำคัญหลักในการควบคุมและใช้งาน Internet of Things ให้เกิดประโยชน์สูงสุด

จากรายงานของการ์ทเนอร์ (Gartner) ระบุว่าภายในปี 2563 หรืออีก 4 ปีข้างหน้า อุปกรณ์ต่างๆ กว่า 25,000 ล้านเครื่องจะเชื่อมต่อกับอินเตอร์เน็ต ซึ่งส่งผลให้เกิดการใช้ข้อมูลในปริมาณมากมายมหาศาล การมาของ Internet of Things ส่งผลต่อการเคลื่อนไหวและพัฒนาไปสู่ความเป็น Smart City หรือเมืองอัจฉริยะ อันสอดรับกับนโยบาย Digital Economy ของรัฐบาลไทย ซึ่งจะเป็นการใช้เทคโนโลยีอย่างกว้างขวางและส่งผลโดยตรงสังคมไทยและการใช้ชีวิตของคนไทย ไม่ว่าจะเป็น ระบบทะเบียนราษฎร ข้อมูลสาธารณสุขของประชากร ระบบขนส่งเดินทาง และการศึกษา

 

เน็ตแอพ บริษัทชั้นนำในการจัดการและบริหารข้อมูลระดับโลก เผยว่า Internet of Things คือแนวทางสำคัญที่ทำให้ธุรกิจต่างๆ สามารถเชื่อมต่อระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของตนกับไฮบริดคลาวด์ (Hybrid Cloud) หรือ เทคโนโลยีคลาวด์แบบผสมผสาน ซึ่งก่อให้เกิดประโยชน์ที่สำคัญดังต่อไปนี้

  • Internet of Things จะทำให้ระบบจัดเก็บข้อมูลที่เชื่อมต่อกันเป็นเน็ตเวิร์คแต่อยู่อย่างกระจัดกระจายมีการประมวลผลอย่างมีประสิทธิภาพ
  • Internet of Things ช่วยให้เกิดการทำงานแบบเรียลไทม์และสามารถแชร์ข้อมูลได้อย่างราบรื่น ไม่ว่าข้อมูลจะถูกเก็บไว้ที่ไหนก็ตาม
  • การใช้ Internet of Things ทำให้เกิดความซับซ้อนในการบริหารข้อมูลในแบบเรียลไทม์ซึ่งเป็นจุดแข็งของเน็ตแอพ

วิสัยทัศน์ของเน็ตแอพ ด้าน ดาต้า แฟบริค (Data Fabric) ที่สามารถทำให้ผู้ใช้งาน สามารถบริหารจัดการข้อมูลที่ถูกจัดเก็บและใช้งานอยู่ในประเภทของระบบคลาวด์ที่แตกต่างกัน ไม่ว่าจะเป็น private cloud, hyper scale cloud หรือ cloud service provider ได้อย่างราบรื่นเหมือนกับผืนผ้าที่ทักทอเข้าไว้ด้วยกันได้อย่างแนบสนิท จะช่วยให้ภาคธุรกิจต่างๆ สามารถจัดการข้อมูลที่กระจัดกระจายอยู่ในโลกของ Internet of Things ได้อย่างชาญฉลาด ได้แก่

  • Internet of Things ส่งผลโดยตรงต่อข้อมูล ดังนั้นผลกระทบต่อเน็ตแอพคือ Internet of Things ทำให้เกิดการไหลบ่าของข้อมูลในปริมาณหลายเทระไบต์ซึ่งต้องการการจัดเก็บชั่วคราว หรืออย่างถาวร รวมถึงการส่งต่อข้อมูล เรียกข้อมูลคืน ป้องกันข้อมูลสูญหายและวิเคราะห์ข้อมูล เป็นต้น
  • จากการเป็นผู้บุกเบิกวิสัยทัศน์ด้านดาต้า แฟบริค เน็ตแอพอยู่ในฐานะที่สามารถช่วยให้ลูกค้าตอบสนองการทำงานได้รวดเร็วขึ้น เมื่อมีการไหลผ่านของข้อมูลเข้ามาในปริมาณมากจากหลายหลายที่ ซึ่งเป็นสิ่งจำเป็นที่สุดในการจัดการข้อมูลที่ถูกเก็บอยู่บนคลาวด์แตกต่างที่กัน

 

  • ในสภาพแวดล้อมของ Internet of Things ข้อมูลจะมีการเก็บไว้ ส่งต่อและแลกเปลี่ยนบน Private Cloud คลาวด์ส่วนตัวหรือคลาวด์ในองค์กร Public Cloud คลาวด์สาธารณะหรือผู้ให้บริการคลาวด์ในประเทศและHybrid Cloud คลาวด์แบบผสมผสาน
  • บริหารจัดการและผสมผสานข้อมูลที่ถูกเก็บไว้ตามที่ต่างๆ โดยที่ผู้อื่นไม่สามารถนำไปใช้ได้ ทำหน้าที่ป้องกันและจัดการข้อมูล ซึ่งทั้งหมดนี้ล้วนเป็นสิ่งสำคัญที่เพิ่มมูลค่าให้กับแพลตฟอร์มของ Internet of Things ด้วยข้อมูลเพียงชุดเดียวที่ใช้ร่วมกัน

เป้าหมายของเน็ตแอพคือทำให้ทุกองค์กรเข้าใจบทบาทของการจัดเก็บข้อมูลในโลกปัจจุบันซึ่งทุกอย่างถูกขับเคลื่อนด้วยดาต้า รวมทั้งประโยชน์ที่ธุรกิจจะได้รับจากเทคโนโลยีของเน็ตแอพต่อการเพิ่มขึ้นของข้อมูล Internet of Things และเทรนด์อื่นๆ

Latest

ใช้ NAS ให้เป็น Google Photo server ด้วย immich

หลายคนชอบใช้ google photo ในการแบ็กอัพรูปจากมือถือ เพราะมีลูกเล่นให้ใช้เยอะแยะ แต่ติดที่ว่าเนื้อที่มักไม่เคยพอ และต้องจ่ายรายปี ต่ำๆ ก็ต้อง...

รัน Stable Diffusion เร็วขึ้น 10x ด้วย AMD GPU

ปกติแล้วตัว Stable Diffusion (ต่อไปขอเรียกสั้นๆ ว่า SD) สามารถติดตั้งและใช้งานได้เลยบน Nvidia GPU...

สร้างภาพ AI บนวินโดวส์ + การ์ดจอ AMD ด้วย Amuse AI

คนใช้การ์ดจอ AMD จะมีความเป็นลูกเมียน้อยอยู่นิดนึง เพราะโปรแกรมและโมเดลสร้างภาพส่วนใหญ่ จะออกแบบมาให้ใช้กับ CUDA ของ Nvidia เป็นหลัก แต่ต่อไปนี้คนใช้...

ใช้ windows 11 อย่างเซียน ด้วย PowerToys (ฟรี)

PowerToys เป็นชุดเครื่องมือฟรีจาก Microsoft ที่ถูกออกแบบมาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานของผู้ใช้ Windows โดยเฉพาะ Windows 11 ซึ่ง...

Newsletter

Don't miss

ใช้ NAS ให้เป็น Google Photo server ด้วย immich

หลายคนชอบใช้ google photo ในการแบ็กอัพรูปจากมือถือ เพราะมีลูกเล่นให้ใช้เยอะแยะ แต่ติดที่ว่าเนื้อที่มักไม่เคยพอ และต้องจ่ายรายปี ต่ำๆ ก็ต้อง...

รัน Stable Diffusion เร็วขึ้น 10x ด้วย AMD GPU

ปกติแล้วตัว Stable Diffusion (ต่อไปขอเรียกสั้นๆ ว่า SD) สามารถติดตั้งและใช้งานได้เลยบน Nvidia GPU...

สร้างภาพ AI บนวินโดวส์ + การ์ดจอ AMD ด้วย Amuse AI

คนใช้การ์ดจอ AMD จะมีความเป็นลูกเมียน้อยอยู่นิดนึง เพราะโปรแกรมและโมเดลสร้างภาพส่วนใหญ่ จะออกแบบมาให้ใช้กับ CUDA ของ Nvidia เป็นหลัก แต่ต่อไปนี้คนใช้...

ใช้ windows 11 อย่างเซียน ด้วย PowerToys (ฟรี)

PowerToys เป็นชุดเครื่องมือฟรีจาก Microsoft ที่ถูกออกแบบมาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานของผู้ใช้ Windows โดยเฉพาะ Windows 11 ซึ่ง...

หยอดปุกรอ!! 4 รถแบรนด์ดัง พลังงานไฮโดรเจน น่าจับตาปี 2023

สำหรับปี 2023 เป็นต้นไปนี้ เราจะเห็นรถพลังงานไฮโดรเจนเปิดตัวมากขึ้น ดูเหมือนทุกค่ายจะซุ่มทำรถไฮโดรเจนของตัวเอง แล้วเหมือนจะนัดกันเปิดตัวในปีนี้พร้อมๆ กัน

ใช้ NAS ให้เป็น Google Photo server ด้วย immich

หลายคนชอบใช้ google photo ในการแบ็กอัพรูปจากมือถือ เพราะมีลูกเล่นให้ใช้เยอะแยะ แต่ติดที่ว่าเนื้อที่มักไม่เคยพอ และต้องจ่ายรายปี ต่ำๆ ก็ต้อง 7-8 ร้อยกว่าบาทต่อปีเลยทีเดียว แต่ถ้าหากคุณมีเครื่อง NAS อยู่ที่บ้าน ผมจะมาบอกข่าวดีว่า เราสามารถทำให้ NAS แบ็กอัพรูปถ่ายจากมือถือเป็นเหมือน google photo ได้ด้วยแอพที่ชื่อว่า immich immich มีความสามารถใกล้เคียงกับ google photo...

รัน Stable Diffusion เร็วขึ้น 10x ด้วย AMD GPU

ปกติแล้วตัว Stable Diffusion (ต่อไปขอเรียกสั้นๆ ว่า SD) สามารถติดตั้งและใช้งานได้เลยบน Nvidia GPU โดยไม่ต้องปรับแต่งอะไรทั้งสิ้น แต่พอเป็นเครื่อง AMD GPU ตัว SD จะรันไม่ได้ ต้องไปรันบน CPU แทน ซึ่งเป็นที่รู้กันดีว่าประสิทธิภาพสู้รันบน GPU ไม่ได้เลย บล็อกนี้เลยจะมาแสดงวิธีการติดตั้งและรัน SD บนเครื่องที่ใช้การ์ดจอ...

สร้างภาพ AI บนวินโดวส์ + การ์ดจอ AMD ด้วย Amuse AI

คนใช้การ์ดจอ AMD จะมีความเป็นลูกเมียน้อยอยู่นิดนึง เพราะโปรแกรมและโมเดลสร้างภาพส่วนใหญ่ จะออกแบบมาให้ใช้กับ CUDA ของ Nvidia เป็นหลัก แต่ต่อไปนี้คนใช้ AMD ไม่ต้องน้อยใจอีกต่อไป เพราะ Amuse AI คือโปรแกรมที่ออกแบบมาให้ใช้กับแพลตฟอร์มของ AMD โดยเฉพาะครับ สำหรับการ์ดจอนั้น ทาง Amuse AI แนะนำให้ใช้รุ่น RX 7000 ที่มี...

LEAVE A REPLY

Please enter your comment!
Please enter your name here